สิทธิ
มนุษยชน หมายถึง สิทธิขั้นพื้นฐานที่พึงมีโดยเสมอภาคกัน
เพื่อการดำรงชีวิตได้อย่าง
มีศักดิ์ศรีมีโอกาสเท่าเทียมกันในการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่าง
เต็มที่และสร้างสรรค์ ดังนั้นจึงเป็นสิทธิที่ได้มาพร้อมกับการเกิดและเป็นสิทธิติดตัวบุคคลนั้น
ตลอดไปไม่ว่าจะอยู่ในเขตปกครองใด หรือเชื้อชาติ ภาษา ศาสนาใด...อ่านต่อ
วันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 กฎหมาย
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตัวเองและครอบครัว
กฎหมาย คือ
กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น
หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม...อ่านต่อ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
รัฐ คือการจัดตั้งองค์กรทางการเมืองสืบเนื่องมาจากการที่มนุษย์รวมตัวกันขึ้นเป็นสังคม
จุดเริ่มต้นของการรวมตัวเป็นสังคม คือ การรวมกลุ่มขึ้นเป็นครอบครัว
จากกลุ่มครอบครัวขยายเป็นเผ่าชน หรือเป็นรูปแบบเหล่ากอ หรือโคตรตระกูล
จากนั้นกลายเป็นนครรัฐ จากนครรัฐแปรสภาพเป็นจักรวรรดิ
ซึ่งมีระยะเวลาคาบเกี่ยวกับนครรัฐ จนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง มีการจัดอง...อ่านต่อ
หน่วยการเรียนรู้ที่4 พลเมืองดี
พลเมืองที่ดีของประเทศชาติและสังคมโลก
คุณลักษณะ 1.
เคารพกฎหมายและปฎิบัติตามกฎระเบียบ
ข้อบังคับของสังคม
เมื่อพลเมืองทุกคนปฎิบัติตามกฎระเบียบ
ข้อบังคับของสังคม และบทบัญญัติของกฎหมาย เช่น ไม่ล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น
หรือไม่กระทำความผิดตามที่กฎหมายกำหนดก็จะทำให้รัฐไม่ต้องเสียงบประมาณในการป้องกัน ปราบปรามและจับกุมผู้ที่กระทำความผิดมาลงโทษ
นอกจากนี้ยังทำให้สังคมมีความเป็นระเบียบสงบ...อ่านต่อ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 วัฒนธรรม
วัฒนธรรม
โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ
วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น
ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน
ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม
วัฒนธรรมส่วนหนึ่งสามารถแสดงออ...อ่านต่อ
หน่ยวการเรียนรู้ที่ 2 การเปลี่ยนแปลงแและการพัฒนาสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม หมายถึง
การที่ระบบสังคม กระบวนการ แบบอย่างหรือรูปแบบทางสังคม เช่น ขนบธรรมเนียมประเพณี
ระบบครอบครัว ระบบการปกครอง ได้เปลี่ยนแปลงไป
ไม่ว่าจะเป็นด้านใดก็ตามการเปลี่ยนแปลงทางสังคมนี้อาจจะเป็นไปในทางก้าวหน้าหรือถดถอย
เป็นไปได้อย่างถาวรหรือชั่วคราว โดยวางแผนให้เป็นไปหรือเป็นไปเอง
และที่เป็นประโยชน์หรือให้โทษก็ได้ทั้งสิ้น
พัทยา สายหู
(2529 : 206-207) ได้อธิบายว่า การเปลี่...อ่านต่อ
หน่วยการเรียนรู้ที่1สังคม
โครงสร้างทางสังคม หมายถึง
ส่วนต่าง ๆ
ที่ประกอบกันเป็นระบบความสัมพันธ์ของสังคมมนุษย์ ส่วนประกอบดังกล่าวจะต้องเป็นเค้าโครงที่ปรากฏในสังคมมนุษย์ทุก
ๆ สังคม
แม้ว่าจะมีรายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างกันไปในแต่ละสังคมก็ตาม
โครงสร้างของสังคมไทย แบ่งออกเป็น
2 ส่วนคือ
1. สังคมชนบท
(กลุ่ม...อ่านต่อ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)